1999 views
ขั้นตอน การผลิตงาน สำหรับทำการ์ตูนแอนิเมชัน Anime โดยทั่วไปแล้ว มีพื้นฐานดังต่อไปนี้
ไอเดีย ( Idea ) หรือบางคนอาจใช้คำว่า แรงบันดาลใจ ( Inspiration )
ซึ่งจะเป็น สิ่งแรก ที่เราสร้างสรรค์ จินตนาการ และ ความคิด ของเรา ว่าผู้ชมของเรา ควรเป็นใคร อะไรที่เรา ต้องการ ให้ผู้ชมทราบ
ภายหลัง จากที่ชมไปแล้ว ควรให้เรื่องที่เราสร้าง ออกมา เป็นสไตล์ไหน ซึ่งอาจจะมาจาก ประสบการณ์ ที่เราได้อ่านได้พบเห็น และสิ่งต่างๆ รอบตัวเป็นต้น นั่นเองครับ
โครงเรื่อง ( Story ) Anime
โครงเรื่อง จะประกอบไปด้วย การเล่าเรื่อง ที่บอกถึงเนื้อหา เรื่องราว ทุกอย่าง ในภาพยนตร์ทั้งตัวละคร ลำดับเหตุการณ์ ฉาก แนวคิด และที่สำคัญ เราควรพิจารณา ว่าการเล่าเรื่อง ควรจะมีการ หักมุม มากน้อยเพียงไร สามารถ สร้างความ บันเทิงได้หรือไม่
และความน่าสนใจนี้ สามารถ ทำให้ผู้ชม รู้สึกประทับใจ จนสามารถระลึก ในความทรงจำ และทำให้ คนพูดถึง ตราบนาน เท่านานหรือเปล่า สคริปต์ ( Script ) เป็นขั้นตอน ในการจับใจ ความสำคัญ ของเนื้อเรื่อง ให้ออกมา ในแต่ละฉาก พร้อมทั้งกำหนด มุมกล้อง เทคนิคพิเศษ รวมถึงระยะเวลา ของการเคลื่อนไหว
Anime โดยให้รายละเอียดต่างๆ เช่น ผู้จัดทำ เสียงดนตรี( Musidcians ) เสียงประกอบ ( Sound Effects ) จิตกรในการวาดหรือนักออกแบบตัวละคร ( Artists ) และแอนิเมเตอร์ (Animators ) สร้างภาพให้กับตัวละคร( Characters Design ) ขั้นตอนนี้เป็นการออกแบบและกำหนดลักษณะนิสัย บุคลิกบทบาทต่างๆ และท่าทางการเคลื่อนไหว ให้กับตัวละคร โดยอาศัยองค์ประกอบพื้นฐานของการออกแบบ ได้แก่ ขนาด ( Size ) รูปทรง (Shape ) และสัดส่วน ( Proportion )
บอร์ดภาพนิ่ง หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า สตอรีบอร์ด ( Storyboards ) เป็นการใช้ภาพในการเล่าเรื่องให้ได้ครบถ้วน ทั้งเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น อารมณ์ ในเหตุการณ์ นั้นๆสีหน้า ท่าทาง ลักษณะต่างๆ ของตัวละคร บอกถึงสถานที่ และมุมมอง ของภาพ ซึ่งภาพ วาดทั้งหมด จะเรียงต่อเนื่อง เป็นเหตุผลกัน เมื่อดูแล้ วสามารถเข้าใจ เรื่องราว ที่เกิดขึ้นได้ อย่างชัดเจน นั่นเองครับ sagaming
หลังจากที่เรา ได้ออกแบบตัวละคร Anime และสร้าง สตอรี่ บอรด์เรียบร้อยแล้ว เราก็จะเข้าสู่ขั้นตอน ของการอัดเสียง ซึ่งเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยง ไม่ได้อย่างยิ่ง บางสตูดิโอ อาจจะเริ่มต้นด้วยการอัดเสียง Soundtrack ก่อน ซึ่งการอัดเสียง ประกอบแอนิเมชัน จะแยกออกเป็น
ประเภทของเสียงโดยหลักแล้วจะมีดังนี้คือ
ตรวจสอบความเรียบร้อย
ตรวจความเรียบร้อย ของแอนิเมชั่น Anime ( Animatic Checking ) Animatic คือการนำภาพที่วาดโดยช่างศิลป์ตามแนวคิด สร้างสรรค์ มาประกอบ กันเข้าเป็นเรื่องราว พร้อมเสียง ประโยชน์ของการทำ Animatic
คือเวลานำเสนอ งานงานแอนิเมชั่น เบื้องต้น จะไม่หยาบเกินไป สามารถสื่อแนวคิด หลักใหญ่ๆ ช่วยให้นักสร้างสรรค์ สามารถ ทบทวน แนวความคิด ก่อนที่จะผลิตเป็น ภาพยนตร์
ทบทวนกรอบเวลา การดำเนินเรื่องราวเหตุผลที่สามารถอธิบายได้อย่างต่อเนื่อง สามารถปรับแต่งเพิ่มเติมภาพหรือ ตัดเข้าสู่ฉากอื่นได้ทันที เพื่อให้ได้งานที่มีอารมณ์จังหวะ และองค์ประกอบที่ใกล้เคียงก่อนการทำแอนิเมชั่น
ปรับแต่งชิ้นงาน ( Refining the Animation ) หลังจากที่เราได้ทำ Animatic แล้วจะต้องนำไป ปรับปรุงและ ตกแต่งแก้ไข สตอรี่บอร์ด และขั้นตอนอื่นๆ โดยละเอียด เช่น ลักษณะงานศิลป์ ( Character Art ) ฉากหลัง ( Background ) เสียง( Sound ) เวลา (Timeing ) และส่วนประกอบอื่นๆ จนกระทั่ง เข้าสู่การผลิต งานแอนิเมชั่นต่อไป โดยการวาดเส้นด้วยคอมพิวเตอร์ Anime การลงสีฉากและตัวละคร ภาพประกอบและเสียงต่อไป (Composting ) Slotxo
ซึ่งในอดีตการปรับเปลี่ยนแผนงานการทำ ภาพยนตร์การ์ตูน มีค่าใช้จ่ายสูง แต่ในปัจจุบันนี้ได้นำระบบดิจิตอลคือคอมพิวเตอร์นั่นเองเข้ามาช่วยในการสร้างงานแอนิเมชั่นทำให้ประหยัด ค่าใช้จ่ายได้มากขึ้น
การเล่าเรื่องด้วยภาพ
การสื่อความหมาย แทนที่จะบรรยาย ด้วยข้อความ เรากลับใช้ภาพเป็นตัวเล่าเรื่อง ดังนั้นการจัดลำดับ ภาพจะต้องแสดง ให้เห็นถึง ความต่อเนื่อง ของการกระทำ ( Action Continuity ) ซึ่งมีหลักการพื้นฐาน สองข้อคือ
1.ถ้าวัตถุมีการเคลื่อนไหว จะต้องคำนึงถึงความต่อเนื่องของการกระทำ ( Action Continuity )ซึ่งจะทำให้การเคลื่อนไหวนั้น ไม่ผิดธรรมชาติ
2. ถ้าวัตถุ ไม่มีการเคลื่อนไหว สามารถ นำภาพซึ่งเป็นเหตุการณ์ ในเวลา ต่อมามาใช้ได้
มุมมองของภาพ
สรุป ขั้นตอนการผลิต แอนิเมชั่น ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เขาต้อมมีความอดทน พยายามอย่างสูง กว่าจะเป็นภาพเคลื่อนไหว ที่ทำให้คนมี อารมณ์ ไปตามเนื่อเรื่อง นั่งเองครับ…
อัพเดทล่าสุด : 25 สิงหาคม 2022