2441 views
ความหมาย การ์ตูน อนิเมะ ที่เกิดจากการ ใช้ขนาดภาพ มุมกล้อง การเคลื่อนที่ ล้วนเป็นภาษา สากลซึ่งคนทั้งโลก ดูแล้วเข้าใจ ได้ตรงกัน คนส่วนใหญ่ สื่อสารกับ ภาษาภาพในภาพยนตร์ โดยไม่รู้ตัว แต่สำหรับ คนที่ต้องทำงาน อยู่เบื้องหลังแล้ว
การไม่รู้หลักการ ใช้ภาพ ในการสื่อสาร ความหมาย และอารมณ์ ความรู้สึก ก็คงไม่ต่างจากคนที่ขับรถ โดยไม่รู้ว่า อุปกรณ์ต่างๆ ในรถมีหน้าที่ ทำงานอย่าางไร นั่นเองครับ
บทภาพ คืออะไร
ภาษาเขียน ในบท การ์ตูน อนิเมะ จะถูกแปล เป็นภาษาภาพ โดยเน้น ให้ได้ความหมายที่ชัดเจน ควบคู่ไปกับอารมณ์ของภาพที่ทะลุทะลวงไปยังผู้ชม ไม่ว่าเศร้า ตื่นเต้น น่ากลัว ชวนหัว หรืออื่นๆ
องค์ประกอบหลักๆ ในภาษาภาพ มีอยู่สามอย่าง ได้แก่ หนึ่ง ขนาดภาพ ซึ่งจะว่าไปแล้วก็อาจเปรียบได้ กับพยัญชนะ ในภาษาไทยสอง มุมกล้อง ซึ่งอาจเปรียบได้ กับสระ และสาม การเคลื่อนกล้อง ซึ่งก็คงเหมือน กับวรรณยุกต์
เมื่อนำ องค์ประกอบ ทั้งสาม มาประกอบ เข้าด้วยกัน ก็จะได้หนึ่งภาพ เป็นเสมือนหนึ่งคำที่สมบูรณ์ ด้วยความหมาย และอารมณ์ ความรู้สึก
1. ภาพไกลมาก หรือ Extreme Long Shot (EXS)
เป็นขนาดภาพ ที่กว้างไกลมาก ขนาดภาพนี้มักใช้ในฉากเปิดเครื่องหรือเริ่มต้นเพื่อบอกสถานที่ว่า เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ไหน ปกติฉากที่เปิดโดยใช้ภาพขนาดนี้มักมีขนาดกว้างใหญ่ เช่นมหานครซึ่งเต็มไปด้วยหมู่ตึกสูงเสียดฟ้า
การ์ตูน อนิเมะ ท้องทะเลกว้างสุดลูกหูลูกตา ขุนเขาสูงตระหง่าน ฉากการประจันหน้ากันในสงคราม ฉากการแสดงมหกรรมคอนเสิร์ต ฯลฯ จุดเด่นของภาพ Extreme Long Shot อยู่ตรงความยิ่งใหญ่ของภาพ ซึ่ง สามารถสร้างพลังดึงดูด คนดูไว้ได้เสมอ
2. ภาพไกล หรือ Long Shot (LS)
เป็นขนาดภาพ ที่ย่อมลงมาจากภาพ Extreme Long Shot คือ กว้างไกล พอที่จะมองเห็นเหตุการณ์ โดยรวมทั้งหมดได้ เมื่อดูแล้วรู้ได้ ทันทีว่าในฉากนี้ ใครทำอะไร อยู่ที่ไหนกันบ้างเพื่อให้คนดู ไม่เกิดความสับสน เกี่ยวกับความสัมพันธ์ ของตัวละคร ในฉากนั้นๆ ถือเป็นขนาดภาพ ที่เหมาะกับการเปิดฉาก
หรือเปิดตัวละคร เพื่อให้เห็นภาพรวม ก่อนที่จะนำคนดูเข้าไปใกล้ตัวละครมากขึ้นในช็อต (Shot) ต่อไป แต่ในขณะที่ เหตุการร์ดำเนินไป เราก็ยัง สามารถใช้ภาพ Long Shot ตัดสลับกับภาพขนาดอื่นๆ ได้เช่นกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับเหตุการณ์ ในเรื่อง ถ้าเป็นช่วงที่ต้องการแสดงให้เห้ท่าทาง ของตัวละครมากกว่า อารมณ์สีหน้าก็ควร ใช้ภาพขนาดนี้
3. ภาพปานกลาง หรือ Medium Shot (MS)
การ์ตูน อนิเมะ ที่เป็นภาพที่คนดู จะไม่ได้เห็นตัวละคร ตลอดทั้งร่าง เหมือนภาพ Long Shot แตจะเห็นประมาณครึ่งตัว เป็นขนาดภาพ ที่ทำให้รายละเอียด ของตัวละคร มากยิ่งขึ้น เหมือนพาคนดู ก้าวไปใกล้ตัว ละครให้มากขึ้น ภาพขนาดนี้ ถูกใช้บ่อยมากกว่าภาพขนดอื่นๆ เพราะสามารถ ให้รายละเอียด ได้มากไม่น้อยเกินไป คือคนดูจะได้เห็นทั้งท่า ทางของตัวละคร และอารมณ์ที่ฉายบนสีหน้าไปพร้อมๆกัน
4. ภาพใกล้หรือ Close up (CU)
เป็นขนาดภาพที่เน้นใบหน้าตัวละครโดยเฉพาะ เพื่อแสดงอารมณ์ของตัวละครในขณะนั้นว่า
รู้สึกอย่างไรต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ภาพขนาดนี้มักมีการเคลื่อนไหวน้อย เพื่อให้คนดูเก็บรายละเอียดได้ครบถ้วนคลิกเพื่อดูภาพขนาดใหญ่
5. ภาพใกล้.หรือ Extreme Close up (CU)
เป็นขนาดภาพที่ตรงกันข้ามชนิดสุดขั้วกับภาพ Extreme Long Shot คือจะพาคนดูเข้าไปใกล้ตัวละครมากๆ เช่น แค่ตา ปาก จมูก เล็บ รวมเปถึงการถ่ายสิ่งของอื่น ๆ อย่างชิดติด เพื่อให้เห็นรายละเอียดกันอย่างจะแจ้ง เช่น ก้อนนำแข็งในแก้ว, หัวแหวน, ไกปืน เป็นต้น เป็นต้น การเลือกใช้ขนาดของภาพต้องให้มีความหลากหลาย เว็บพารวย ufastar
ระวังอย่าใช้ภาพที่มีขนาดเท่ากัน มาเรียงต่อกันบ่อยๆ เพราะจะทำให้งานดูไม่น่าสนใจวิธีที่ดีที่สุดในการศึกษาการใช้ขนาดภาพ คือหา ภาพยนตร์แอนิเมชั่น ที่โปรดปรานมาสักเรื่องเปิดดูอย่างช้าๆ ค่อยๆเรียนรู้วิธีการใช้ขนาดภาพ ลองวิเคราะห์ดูว่าทำไมเขาถึงเลือกใช้ขนาดภาพแบบนั้น รับรองในไม่ช้า คุณจะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้นมากที่เดียว
สตอรี่บอร์ด การ์ตูน อนิเมะ คือการเตรียมการ นำเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้งสื่อในรูปแบบ มัลติมีเดียต่างๆ ลงบนกระดาษ การนำเสนอเนื้อหาและลักษณะการนำเสนอ ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ดรวมไปถึงการเขียนสคริปต์ (สคริปต์ในที่นี้คือ เนื้อหาข้อความในบทเรียน) ที่ผู้เรียนจะได้เห็นบนหน้าจอซึ่งได้แก่ เนื้อหา ข้อมูล คำถาม ผลย้อนกลับ คำแนะนำ คำชี้แจง ข้อความเรียกความสนใจ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว (ถนอมพร เลาหจรัสแสง , 2541 : 32 )
การจัดทำสตอรี่บอร์ดที่มีลักษณะมัลติมีเดียนั้นจะต้องมีการออกแบบภาพ ข้อความ เสียง และการเคลื่อนไหวให้เข้ากับเนื้อหาบทเรียน ซึ่งจะต้องผ่านกระบวนการทำงานที่เป็นมาตรฐานในการคิด การสร้างสตอรี่บอร์ดเริ่มต้นด้วย การทำแบบร่างและการจัดวางเบื้องต้น โดยการร่างแบบคือการวาดเพื่อถ่ายทอดความคิดเบื้องต้นด้วยดินสอ หรือปากกาด้วยลายเส้นง่ายๆ
หรือใช้คอมพิวเตอร์ในการร่างแบบ
เพื่อให้การนำเสนอข้อความและสื่อในรูปแบบต่างๆเหล่านี้เป็นไปอย่างเหมาะสมตามลำดับขั้นตอนบนจอคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (อังกฤษ: computer graphics) คือภาพหรือลวดลายที่มองเห็นได้ที่สร้างขึ้นหรือถูกจัดเก็บและนำมาแสดงผลโดยใช้คอมพิวเตอร์ภาพรวมคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ หรือในศัพท์บัญญัติว่า เรขภาพคอมพิวเตอร์ เรียกย่อ ๆ ว่า ซีจี (CG) คือ การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โดยข้อมูลเข้าเป็นข้อมูลตัวเลข Slotxo
ตัวอักษร หรือสัญญานต่าง ๆ โดยการสร้างแบบจำลอง (modeling) ตามด้วย การสร้างเป็นภาพสุดท้ายหรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการให้แสงและเงา (rendering) แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพเป็นข้อมูลเชิงเรขาคณิต เช่น รูปทรง สีสัน ลวดลาย หรือ ลักษณะแสงเงา
รวมถึง ข้อมูลอื่น ๆ ของภาพ เช่น ข้อมูลการเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลง ลักษณะการเชื่อมต่อ และ ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุหรือสิ่งของในภาพ รวมไปถึงการศึกษาด้านระบบในการแสดงภาพ ทั้งสถาปัตยกรรมของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่อ หรือ อุปกรณ์ในการนำเข้า และ แสดงผล ปัจจุบันมีการประยุกต์ เรขภาพคอมพิวเตอร์ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีอื่น ๆ เช่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวในงานภาพยนตร์ เกม สื่อประสมภาพและเสียง ศึกษาบันเทิง หรือ ระบบสร้างภาพความจริงเสมือน เป็นต้น
อัพเดทล่าสุด : 25 สิงหาคม 2022